25.11.55

ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของกุ้ง

  

ครูไวยุ์



รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของกุ้ง ห้อง ม.4/9

การศึกษาลักษณะของกุ้ง (The digestive tract of shrimp)

    1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางกุ้งไว้ในถาดผ่าตัด 
        1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด หนวด สีลำตัวและเหลือก ตา ขา 
        1.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านล่าง แกะเปลือกส่วนหัวออกครึ้งหนึ่ง ตัดออก ปอกเปลือกกุ้งตลอดหาง ผ่าแนวสันหลังด้านบนจากหัวตลอดไปจนถึงหาง ไปจนถึงทวารหนัก ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายใน
        1.3 แยกให้แผ่ออก ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus) 
        1.4 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
    2. เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน

ภาพประกอบการทำกิจกรรม

รูป 1.1 ลักษณะภายนอกก่อนผ่าตัด

รูป 1.2 ลักษณะภายนอกก่อนผ่าตัด

รูป 2.1 กุ้งขณะดำเนินการผ่าตัด

รูป 2.2 กุ้งขณะดำเนินการผ่าตัด

รูป 3.1 ระบบทางเดินอาหารของกุ้ง


รูป 3.2 ระบบทางเดินอาหารของกุ้ง



วีดิโอ 1.1  การศึกษาทางเดินอาหารของกุ้ง


 
วีดิโอ 1.2  การศึกษาทางเดินอาหารของกุ้ง

ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 

กลุ่ม 4
นายนฤเบศร์ หงส์วชิราภรณ์ เลขที่ 4
นางสาวกนกวรรณ ทวีกายุจันทร์ เลขที่ 14
นางสาววนิดา สุวรรณฤกษ์ เลขที่ 24
นางสาวสุนิสา จิตราวงค์ เลขที่ 34 
นางสาวธญธร สังคง เลขที่ 44


กลุ่ม 9

นางสาวชนิกานต์ สุขอยู่ เลขที่ 9
นางสาวธัญสุตา มณีนาถฐานสิร์ เลขที่ 19
นางสาวนฤมล สุวรรณฤกษ์ เลขที่ 29
นางสาวดวงหทัย อภิลักขิตกุล เลขที่ 39
นางสาวศุภกร กลมกล่อม เลขที่ 49
ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น

ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของกบ



 
ครูไวยุ์

รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของกบ ห้อง ม.4/9

การศึกษาลักษณะของกบ (The digestive tract of frog)


    1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางกบไว้ในถาดผ่าตัด 
        1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สีลำตัว หัว ปาก ตา ขา 
        1.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านข้าง ผ่าช่วงหัวตลอดไปจนถึงท้อง ไปจนถึงทวารหนัก ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายใน
        1.3 แยกให้แผ่ออก ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus) 
        1.4 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
    2. เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน


ภาพประกอบการศึกษาระบบทางเดินอาหารของกบ



รูป 1.1 ลักษณะภายนอกของกบก่อนดำเนินการผ่าตัด


รูป 1.2 ลักษณะภายนอกของกบก่อนดำเนินการผ่าตัด

รูป 2.1 กบกำลังดำเนินการลังดำเนินการผ่าตัด

รูป 2.2 กบกำลังดำเนินการลังดำเนินการผ่าตัด


รูป 3.1 กบหลังดำเนินการลังดำเนินการผ่าตัด


รูป 3.2 กบหลังดำเนินการลังดำเนินการผ่าตัด



วีดิโอ 1 การผ่าตัดศึกษาทางเดินอาหารของกบ


วีดิโอ 2 การผ่าตัดศึกษาทางเดินอาหารของกบ



ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9
กลุ่ม 3

1. นายธนภัทร์ โรจน์เรืองนนท์ เลขที่
2. น.ส.ปินดา วรรณวิจิตร เลขที่ 13 
3. น.ส.ภิสุชา เบ็ญหมัด เลขที่ 23 
4. น.ส.ศรุตา แก้วอัมพร เลขที่ 33 
5. น.ส.ณัฐธิดา สุวรรณวงศ์ เลขที่ 43

กลุ่ม 10

น.ส.ศุภิสรา จิตประพันธ์ เลขที่ 10
น.ส.ปิยดา แมกไม้รักษา เลขที่ 20 
น.ส. ปิยะมาศ แซ่อื้อ เลขที่ 30 
น.ส.ธัญวรัตน์ นัคราเรือง เลขที่ 40 
น.ส.ซารีนา หวังเบ็ญหมัด เลขที่ 50
ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น


ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาทับทิม


  ครูไวยุ์

รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาทับทิม ห้อง ม.4/9

    1. การวางยาสลบสัตว์ที่นำมาศึกษา  
        1.1  วางยาสลบปลาด้วยสารเคมีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
       Methane tricaine sulphanate (MS-222).........40-80 ppm
       หรือ Benzocaine…………......…......……...…100 ppm
       หรือ Quinaldine………………….............…10-15 ppm
        1.2  นำมาล้างภายนอกให้สะอาด

    2. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางปลาไว้ในถาดผ่าตัด 
        2.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของเกล็ด ครีบ ตา เหงือก
        2.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านล่าง ผ่าท้องไปจนตลอดครีบล่าง ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายในและช่องเปิดต่างๆ
        2.3 ผ่าตัดเปิดช่องท้อง ตัดส่วนของเนื้อออกจนถึงแผ่านปิดแก้ม
        2.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus) 
        2.5 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
        2.6 เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน

ภาพประกอบการทำกิจกรรม

รูป 1.1 ลักษณะภายนอกของปลาทับทิม

รูป 1.2 การผ่าตัดเพื่อศึกษาทางเดินอาหารของปลาทับทิม 
รูป 1.3 การศึกษาทางเดินอาหารของปลาทับทิม


วีดิโอ การศึกษาระบบทางเดินอาหารของปลาทับทิม


ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 

กลุ่ม 8
นาย ทรงภพ เสริมวิทยวงศ์ เลขที่ 8
นางสาว ณัชชา ซุ่ยลิ่ม  เลขที่ 18
นางสาว ฐิติรัตน์ วิเศษสินธ์  เลขที่ 28
นางสาว กานต์ชนก แสงศรี เลขที่ 38
นางสาว วรินทรา จรัสเกื้อกูลพงศ์ เลขที่ 48
ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น

ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาช่อน

 ครูไวยุ์

รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาช่อน ห้อง ม.4/9
การศึกษาลักษณะของปลาช่อน  (The digestive tract of striped snakehead fish)

 
   1. การวางยาสลบสัตว์ที่นำมาศึกษา
        1.1  วางยาสลบปลาด้วยสารเคมีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
       Methane tricaine sulphanate (MS-222).........40-80 ppm
       หรือ Benzocaine…………......…......……...…100 ppm
       หรือ Quinaldine………………….............…10-15 ppm
        1.2  นำมาล้างภายนอกให้สะอาด

    2. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางปลาไว้ในถาดผ่าตัด
        2.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของเกล็ด ครีบ ตา เหงือก
        2.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านล่าง ผ่าท้องไปจนตลอดครีบล่าง ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายในและช่องเปิดต่างๆ
        2.3 ผ่าตัดเปิดช่องท้อง ตัดส่วนของเนื้อออกจนถึงแผ่านปิดแก้ม
        2.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus)
        2.5 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
        2.6 เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน


ภาพประกอบจากการทำกิจกรรม

รูป 1.1 ลักษณะภายนอกของปลาช่อน
รูป  1.2  การผ่าตัดเพื่อศึกษาทางเดินอาหารของปลาช่อน
รูป 1.3 การศึกษาทางเดินอาหารของปลาช่อน

วีดิโอ 1  การศึกษาระบบทางเดินอาหารของปลาช่อน



ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9
  
กลุ่ม 5
ปรมะ ศรีชัยชนะ เลขที่ 5
ณัฐธิดา แซ่ลิ่ม 
เลขที่ 15
กชามาศ แป้นเกลี้ยง เลขที่ 25
อชิรญา ปลอดอักษร เลขที่ 35
สรณ์สิริ ชวลิตวรกุล เลขที่ 45
ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น


24.11.55

ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของนกกระทา

  

ครูไวยุ์

รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของนกกระทา ห้อง ม.4/9

การศึกษาลักษณะของนก


    1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางนกไว้ในถาดผ่าตัด 

        1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด ลักษณะของผิวหนัง ปาก ตา หงอน ขา 
        1.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านข้าง ผ่าช่วงคอตลอดไปจนถึงอก และตัดแยกจากอกไปจนถึงทวารหนัก ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายใน
        1.3 แยกให้แผ่ออก ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus) 
        1.4 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
    2. เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน


ภาพประกอบการทำบทปฏิบัติการ

รูปที่ 1.1 นกกระทาก่อนทำการผ่าตัด

รูปที่ 1.2 นกกระทาก่อนทำการผ่าตัด

รูปที่ 2.1 นกกระทาขณะทำการผ่าตัด


 รูปที่ 2.2 นกกระทาขณะทำการผ่าตัด



รูปที่ 3.1 นกกระทาหลังทำการผ่าตัด

รูปที่ 3.2 นกกระทาหลังทำการผ่าตัด


  วีดิโอ 1 การศึกษาทางเดินอาหารของนกกระทา



  วีดิโอ 2 การศึกษาทางเดินอาหารของนกกระทา


ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9
กลุ่ม 1  
กลุ่ม 6

นาย พีรณัฐ ศรีวิรัตน์ เลขที่ 6 
Peeranut Srivirat
นางสาว ณิชกานต์ ศรีจันทรงาม เลขที่ 16 

แพงแพงแพง แพงแพง 
น.ส.กรวรรณ โชคพิศาลตระกูล เลขที่ 26 

Manaow Chokpisaltrakool
นางสาว กมลวรรณ ศรีเฉลิม เลขที่ 36 

Kamolwan Srichalerm
นางสาว ธนันถ์นันท์ พยุงวัฒนา
 เลขที่ 46 
Thanatnan Payungwattana
ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น





ห้อง 4/9 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน

 ครูไวยุ์

รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน ห้อง ม.4/9

การศึกษาลักษณะของไส้เดือนดิน (The digestive tract of earthworms)

    1. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางไส้เดือนดินไว้ในถาดผ่าตัด 
        1.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของผิวลำตัวปาก ทวารหนัก
        1.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปาก ผ่าตามแนวข้างลำตัวไปจนตลอดลำตัว ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายใน
        1.3 ใช้เข็มหมุดดึงผิวหนังให่แผ่กว้างตลอดลำตัว
        1.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus) 
        1.5 ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
    2. เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน


ภาพประกอบการทำปฏิบัติการ


รูป 1.1 ลักษณะภายนอกของไส้เดือนดิน

รูป 1.2 กำลังทำการผ่าตัดไส้เดือนดิน

รูป 1.3 ลักษณะภายในของไส้เดือนดิน



วีดิโอ 1 การศึกษาระบบทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน


ผู้จัดทำ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9  ปีการศึกษา 2555

กลุ่ม 2


กลุ่ม 7

23.11.55

ห้อง 4/5 ผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาช่อน

  ครูไวยุ์


รายงานผลการทำบทปฏิบัติการระบบทางเดินอาหารของปลาช่อน ห้อง ม.4/5
การศึกษาลักษณะของปลาช่อน (The digestive tract of striped snakehead fish)

    1. การวางยาสลบสัตว์ที่นำมาศึกษา
        1.1  วางยาสลบปลาด้วยสารเคมีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
       Methane tricaine sulphanate (MS-222).........40-80 ppm
       หรือ Benzocaine…………......…......……...…100 ppm
       หรือ Quinaldine………………….............…10-15 ppm
        1.2  นำมาล้างภายนอกให้สะอาด

    2. การศึกษาลักษณะภายนอกและภายใน  วางปลาไว้ในถาดผ่าตัด
        2.1 ศึกษาลักษณะภายนอก เช่น ขนาด สี ลักษณะของเกล็ด ครีบ ตา เหงือก
        2.2 ใช้กรรไกรผ่าตัดสอดเข้าทางปากด้านล่าง ผ่าท้องไปจนตลอดครีบล่าง ระมัดระวังอย่าให้โดนอวัยวะภายในและช่องเปิดต่างๆ
        2.3 ผ่าตัดเปิดช่องท้อง ตัดส่วนของเนื้อออกจนถึงแผ่านปิดแก้ม
        2.4 ศึกษาลักษณะทางเดินอาหารตั้งแต่ปาก (mouth) จนถึงทวารหนัก (anus)
        2.5 ดึงอวัยวะทางเดินอาหารออกมา ระวังอย่าให้ขาด ใช้เข็มหมุดปักส่วนที่เป็นอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
        2.6 เตรียมการนำเสนอ และเขียนรายงาน

ภาพประกอบจากการทำกิจกรรม

รูป 1.1 ลักษณะภายนอกของปลาช่อน

รูป 1.2 การผ่าตัดเพื่อศึกษาทางเดินอาหารของปลาช่อน

รูป 1.3 การศึกษาทางเดินอาหารของปลาช่อน


วีดิโอ 1 การศึกษาทางเดินอาหารของปลาช่อน

ผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 

กลุ่ม5
ชิงชัย โชติศิริ เลขที่5
พัลลภ คงสะอาด เลขที่15
ศศิชา แซ่อึ้ง เลขที่25
ปริณดา แต้มเพ็ง เลขที่35
สุกัญญา บุญนำ เลขที่ 45

ครูผู้ควบคุม

นางไวยุด๊ะ  เหตุเหล๊าะ
นางสาวมาเรียม วัทนาด
นางสาววิกานต์ดา แหละคิ่น
นายเตวิช วงศ์สฤษ